คำฮธิบายรายวิชา อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง (Internet of Things ) (4123412)

คำอธิบายรายวิชา   
          หลักการและแนวคิดของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง สถาปัตยกรรมอินเทอร์ในทุกสิ่ง เครือข่ายการเชื่อมโยงอินเทอร์เน็ตสำหรับทุกสิ่ง การวิเคราะห์ความต้องการและออกแบบผลิตภัณฑ์การเชื่อมต่ออุปกรณ์อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง  เครื่องมือสำหรับการพัฒนาเชื่อมต่ออุปกรณ์อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เบื้องต้นสำหรับการเชื่อมต่ออุปกรณ์อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง แนวทางการประยุกต์ใช้อุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตในทุกสิ่งสำหรับภาคธุรกิจ

 

 

 

วัตถุประสงค์รายวิชา

  1. รายวิชามีการบูรการการเรียนการสอนกับงานวิจัยโดยให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มจัดทำโครงงาน และ นำเสนองานในลักษณะงานวิจัย (Research-Based Learning)
  2. รายวิชานี้มีเอกสารประกอบ สื่อวิดีโอที่ทันสมัย ใช้ประกอบการเรียนการสอน
  3. รายวิชานี้มีสื่อการสอนที่เป็นสองภาษาคือ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

โครงงาน (Project 30%)

ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ออกเป็น 3 กลุ่ม (จำนวนนักศึกษาทั้งห้อง แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม)
     1. ให้กำหนดหรือสมมติกลุ่มเป็น บริษัทหรือองค์กร หรือน่วยงาน แล้วดำเนินการจัดทำรายงานเรื่อง Bussiness Rule ของ บริษัท หรือองค์กรนั้น
     2. ทำการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานโดยพัฒนาด้วยเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตของทุกสิ่ง ด้วย Arduino IDE
     3. ทำการนำเสนอโดยบันทึกเป็นวิดีโอ และอัพโหลดขึ้น YouTube
     4. เขียนแบบเสนอโครงการวิจัย (Proposal) และนำเสนอในรูปแบบ Oral Presentation

เอกสารประกอบการสอน

 

แผนการสอน

สัปดาห์ที่ เนื้อหา กิจกรรม สื่อการสอน
1

แนะนำการเรียนการสอน แนะนำเนื้อหารายวิชา การเข้าชั้นเรียน

การส่งโครงงาน แบบฝึกหัด การสอบระหว่างภาค การสอบปลายภาค

เกณฑ์การให้คะแนน การตัดเกรด เอกสารและตำราหลัก

แหล่งข้อมูลเพื่ออ่านเพิ่มเติม {บอก Concept}

  • ทบทวนความรู้พื้นฐานสไลด์ประกอบการเรียนการสอนด้วย MS-PowerPoint
  • Course Syllabus 
  • บรรยาย อภิปราย
  • แบ่งกลุ่มสำหรับทำโครงงานกลุ่ม
  • สื่อวิดีโอ / YouTube
  • สร้างกลุ่มไลน์ (LINE GROUP) สำหรับสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

Course Syllabus


สมุดคู่มือเรียนรู้

2

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตของทุกสิ่ง
     
     1.2 ประวัติของอินเตอร์เน็ตของทุกสิ่ง
     1.3 องค์ประกอบของอินเตอร์ของทุกสิ่ง
     1.4 การประยุกต์ใช้งานอินเตอร์เน็ตของทุกสิ่ง
     1.5 ตัวอย่างโปรแกรม

  • ซักถามความรู้พื้นฐานของนักศึกษาเกี่ยวกับระบบเชิงวัตถุ
  • สไลด์ประกอบการเรียนการสอนด้วย MS-PowerPoint
  • บรรยาย อภิปราย
  • สื่อวิดีโอ / YouTube และใช้สื่อประสม
  • แบบฝึกหัดท้ายบท
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตของทุกสิ่ง
3

บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอุปกรณ์ IoT และ Arduino

     2.1 อุปกรณ์พื้นฐานเกี่ยวกับ Internet of Things
     2.2 การเขียนโปรแกรมภาษา C สำหรับ Arduino
     2.3 การใช้งานโปรแกรม Arduino เบื้องต้น
     2.4 การใช้งาน Arduino คำสั่งตัดสินใจเลือก if else
     2.5 การใช้งาน Arduino คำสั่งทำซ้ำ
     2.6 ตัวอย่างโปรแกรม

  • สไลด์ประกอบการเรียนการสอนด้วย MS-PowerPoint
  • บรรยาย อภิปราย
  • สื่อวิดีโอ / YouTube
  • อุปกรณ์ IoT บอร์ด Arduino และสายจัมเปอร์ และอุปกรณ์อื่น ๆ
  • และใช้สื่อประสม
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอุปกรณ์ IoT และ Arduino

Video

4

บทที่ 3 การประยุกต์ใช้ Arduino ควบคุมหลอด LED

     3.1 อุปกรณ์พื้นฐานในการควบคุมหลอด LED
     3.2 ประเภทสัญญาณ Digital และ Analog
     3.3 การรับค่าจากปุ่ม / สวิตช์
     3.4 ตัวอย่างโปรแกรม

  • สไลด์ประกอบการเรียนการสอนด้วย MS-PowerPoint
  • บรรยาย อภิปราย
  • อุปกรณ์ IoT บอร์ด Arduino และสายจัมเปอร์ และอุปกรณ์อื่น ๆ
  • สื่อวิดีโอ / YouTube
  • แบบฝึกหัดท้ายบท
บทที่ 3 การประยุกต์ใช้ Arduino ควบคุมหลอด LED
5

บทที่ 4 การประยุกต์ใช้ Arduino ควบคุม
Sensor แสง อุณหภูมิ และความชื้น

     4.1 อุปกรณ์พื้นฐานเซ็นเซอร์ ตรวจจับ แสง อุณหภูมิ และความชื้น
     4.2 โปรแกรม เปิด-ปิด หลอด LED ด้วยเซ็นเซอร์ตรวจจับแสง
     4.3 โปรแกรม เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ และความชื้น
     4.4 โปรแกรม เปิด-ปิด หลอดไฟ LED อัตโนมัติ ด้วยอุณหภูมิ
     4.5 ตัวอย่างโปรแกรม

  • สไลด์ประกอบการเรียนการสอนด้วย MS-PowerPoint
  • บรรยาย อภิปราย
  • อุปกรณ์ IoT บอร์ด Arduino และสายจัมเปอร์ และอุปกรณ์อื่น ๆ
  • สื่อวิดีโอ / YouTube
  • แบบฝึกหัดท้ายบท

บทที่ 4 การประยุกต์ใช้ Arduino ควบคุม
Sensor แสง อุณหภูมิ และความชื้น

EN

6

บทที่ 5 การประยุกต์ใช้ Arduino ควบคุมเซ็นเซอร์วัดระยะ, หน้าจอLCD, นาฬิกา

     5.1 แนะนำอุปกรณ์
     5.2 โปรแกรมเซ็นเซอร์วัดระยะทาง
     5.3 โปรแกรมแสดงข้อความออกทางหน้าจอ LCD
     5.4 โปรแกรมแสดง อุณหภูมิ และความชื้นออกทางหน้าจอ LCD
     5.5 ติดตั้ง Libraries Sensor วัดอุณหภูมิและความชื้น
     5.6 โปรแกรมตั้งเวลา เปิด-ปิด หลอด LED
     5.7 การประยุกต์ใช้งาน

  • สไลด์ประกอบการเรียนการสอนด้วย MS-PowerPoint
  • บรรยาย อภิปราย
  • อุปกรณ์ IoT บอร์ด Arduino และสายจัมเปอร์ และอุปกรณ์อื่น ๆ
  • สื่อวิดีโอ / YouTube
  • แบบฝึกหัดท้ายบท

บทที่ 5 การประยุกต์ใช้ Arduino ควบคุมเซ็นเซอร์วัดระยะ, หน้าจอLCD, นาฬิกา

Videos ตอนที่ 1

Videos ตอนที่ 2

Videos ตอนที่ 3

7

บทที่ 6 การประยุกต์ใช้ Arduino ควบคุม Relay และการใช้ NodeMCU กับ Blynk

     6.1 แนะนำอุปกรณ์
     6.2 โปรแกรม เปิด – ปิด หลอดไฟ 220v ด้วย Relay
     6.3 วิธีติดตั้ง NodeMCU ESP8266 v2
     6.4 แนะนำ  Blynk
     6.5 วิธีติดตั้ง Blynk
     6.6 โปรแกรม เปิด – ปิด ไฟ ด้วย Blynk

  • สไลด์ประกอบการเรียนการสอนด้วย MS-PowerPoint
  • บรรยาย อภิปราย
  • อุปกรณ์ IoT บอร์ด Arduino และสายจัมเปอร์ และอุปกรณ์อื่น ๆ
  • สื่อวิดีโอ / YouTube
  • แบบฝึกหัดท้ายบท

บทที่ 6 การประยุกต์ใช้ Arduino ควบคุม Relay และการใช้ NodeMCU กับ Blynk

  สอบระหว่างภาค ข้อสอบอัตนัยที่เน้นการวัดหลักการ ทฤษฎี และความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตของทุกสิ่ง  
8

บทที่ 6 การประยุกต์ใช้ Arduino ควบคุม Relay และการใช้ NodeMCU กับ Blynk (ต่อ)

     7.1 แนะนำอุปกรณ์
     7.2 แนะนำฐานข้อมูล MySQL และ PhpMyAdmi
     7.3 ออกแบบฐานข้อมูลด้วย MySQL และ PhpMyAdmin
     7.4 แนะนำเครือข่ายไร้สาย (WIFI)
     7.5 ก
ารเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลผ่านเครือข่ายไร้สาย (WIFI)
     7.6 การบันทึกข้อมูล อุณหภูมิ และความชื้นลงในฐานข้อมูล MySQL ด้วย NodeMCU

    1. การประยุกต์ใช้งาน
  • สไลด์ประกอบการเรียนการสอนด้วย MS-PowerPoint
  • บรรยาย อภิปราย
  • อุปกรณ์ IoT บอร์ด Arduino และสายจัมเปอร์ และอุปกรณ์อื่น ๆ
  • สื่อวิดีโอ / YouTube
  • แบบฝึกหัดท้ายบท
บทที่ 6 การประยุกต์ใช้ Arduino ควบคุม Relay และการใช้ NodeMCU กับ Blynk
9

บทที่ 7 การประยุกต์ใช้ Arduino กับการใช้ NodeMCU ร่วมกับฐานข้อมูล MySQL

    1. แนะนำอุปกรณ์
    2. การบันทึกข้อมูล อุณหภูมิ และความชื้น
      ลงในฐานข้อมูล MySQL ด้วย NodeMCU
    3. การประยุกต์ใช้งาน
  • สไลด์ประกอบการเรียนการสอนด้วย MS-PowerPoint
  • บรรยาย อภิปราย
  • อุปกรณ์ IoT บอร์ด Arduino และสายจัมเปอร์ และอุปกรณ์อื่น ๆ
  • สื่อวิดีโอ / YouTube
  • แบบฝึกหัดท้ายบท
บทที่ 7 การประยุกต์ใช้ Arduino กับการใช้ NodeMCU ร่วมกับฐานข้อมูล MySQL
 

ทที่ 8 การใช้งาน IoT บน NetPie

    1. แนะนำNetPie คืออะไร
    2. วิธีการติดตั้ง NetPI
    3. การใช้งาน NetPi
    4. การประยุกต์ใช้งาน IoT กับ NetPi
  • สไลด์ประกอบการเรียนการสอนด้วย MS-PowerPoint
  • บรรยาย อภิปราย
  • อุปกรณ์ IoT บอร์ด Arduino และสายจัมเปอร์ และอุปกรณ์อื่น ๆ
  • สื่อวิดีโอ / YouTube
  • แบบฝึกหัดท้ายบท
ทที่ 8 การใช้งาน IoT บน NetPie
10

บทที่ 9 Stepper Motor

    1. อุปกรณ์ที่ต้องใช้
    2. โปรแกรมมอเตอร์ DC หมุน ซ้าย-ขวา
    3. โปรแกรมมอเตอร์ Servo หมุน 360 องศา
    4. โปรแกรมควบคุมการหมุนด้วยสเต็ปมอเตอร์
  • สไลด์ประกอบการเรียนการสอนด้วย MS-PowerPoint
  • บรรยาย อภิปราย
  • อุปกรณ์ IoT บอร์ด Arduino และสายจัมเปอร์ และอุปกรณ์อื่น ๆ
  • สื่อวิดีโอ / YouTube
  • แบบฝึกหัดท้ายบท

บทที่ 9 Stepper Motor

วิดีโอ ตอนที่ 1  

วิดีโอ ตอนที่ 2
 

 

บทที่ 10 Raspberry Pi

    1. การใช้งานอุปกรณ์ Raspberry Pi
    2. การเชื่อมต่ออุปกรณ์ Raspberry Pi และการติดตั้งโปรแกรม
    3. การเชื่อมต่ออุปกรณ์ Raspberry Pi กับ IoT Platform
การประยุกต์ใช้งาน
  • สไลด์ประกอบการเรียนการสอนด้วย MS-PowerPoint
  • บรรยาย อภิปราย
  • แบบฟอร์มเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
  • เทมเพลตแบบนำสเนองานวิจัยในการประชุมวิชาการระดับชาติ (Poster Presentation)
  • เทมเพลตแบบฟอร์มนำเสนองานวิจัยในการประชุมวิชาการระดับชาติ (Oral Presentation)
แบบฝึกหัดท้ายบท
บทที่ 10 Raspberry Pi
11

กรณีศึกษา : การบูรณาการโครงงานอินเตอร์เน็ตของทุกสิ่งกับงานวิจัย

  • การเขียนเค้าโครงงานวิจัย (Proposal)
  • รูปแบบการนำเสนองานวิจัย (Presentation)
  • การนำเสนองานวิจัยด้วยโปสเตอร์ (Poster)
การนำเสนองานวิจัยรูปแบบปากเปล่า (Oral Presentation)
  • นำเสนอโครงงานด้วย MS-PowerPoint
  • นำเสนอเป็นสื่อวิดีโอ และอัพโหลดขึ้น YouTube
 
  นำเสนอโครงงานที่ได้รับมอบหมายของนักศึกษาแต่ละกลุ่ม
  • นำเสนอโครงงานด้วย MS-PowerPoint
  • นำเสนอเป็นสื่อวิดีโอ และอัพโหลดขึ้น YouTube
 
10 สอบปลายภาค

สอบปฏิบัติและ/หรือทฤษฎีที่เน้นการบูรณาการความรู้

ที่เรียนมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบงาน

โดยการประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตของทุกสิ่ง

 
       
11      
       
12      
       
13      
       
14      
       
15      
       
16      
       

หนังสือ อินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง

แนะนำเว็บไซต์

อ้างอิง (Referrences)

  • http://www.siam2dev.com
  • https://www.aware.co.th/iot-คืออะไร/
  • https://www.entech.co.th/cctv-internet-of-things/?lang=th
  • https://www.uih.co.th/th/knowledge/nectec

 

 

โครงงาน (Project 30%)

 

โครงงานที่ :

1

 

อ่านต่อ
โครงงาน 1 : การพัฒนาเครื่องให้อาหารแมว Cat Feeder
สมาชิกในกลุ่ม
1.นาย ธนวัฒน์ เขียวละลิ้ม 6130122115007
2.นาย สุทธิพงศ์ หมายทรัพย์ 6130122115011
3.นาย อนุตร คุณาธรรมกุล 6130122115016
4.นาย ปรัชญา จิตร์มา 6130122115021

 

อ่านต่อ
วิดีโอ ตัวอย่างโครงงาน

.

อ่านต่อ
โครงงานที่ :

2

 

อ่านต่อ
โครงงานที่ 2 : การพัฒนาระบบเตือนภัยน้ำท่วมภายในบ้านโดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง
สมาชิกในกลุ่ม
1.นาย ธนวัฒน์ เขียวละลิ้ม 6130122115007
2.นาย สุทธิพงศ์ หมายทรัพย์ 6130122115011
3.นาย อนุตร คุณาธรรมกุล 6130122115016
4.นาย ปรัชญา จิตร์มา 6130122115021

 

อ่านต่อ
วิดีโอ ตัวอย่างโครงงาน

.

อ่านต่อ
โครงงานที่ :

3

 

อ่านต่อ
โครงงานที่ 3 : การพัฒนาระบบปลูกผักกาดหอบแบบไฮโครพอนิกส์ โดยใช้ IoT
สมาชิกในกลุ่ม
1.นาย ปริญญา

 

อ่านต่อ
วิดีโอ ตัวอย่างโครงงาน

.

อ่านต่อ
โครงงานที่ :

4

 

อ่านต่อ
โครงงานที่ 4 : IOT เครื่องวัดระดับน้ำแจ้งเตือนผ่าน LINE
สมาชิกในกลุ่ม
1.นาย ปริญญา

 

อ่านต่อ
วิดีโอ ตัวอย่างโครงงาน

.

อ่านต่อ